21 พฤศจิกายน 2567

เกลือแร่ แร่ธาตุ

เกลือแร่ และประเภทแร่ธาตุ (Dietary Mineral) รวมบทความเกี่ยวกับเกลือแร่ สารอาหาร ข้อมูลทางโภชนาการเพื่อสุขภาพ ความรู้เรื่องประโยชน์ โทษของเกลือแร่ แหล่งสารอาหาร สารอาหารเพื่อโครงสร้างของร่างกาย

น้ำเกลือ เป็นสารละลายของโซเดียมคลอไรด์ที่มีความสำคัญต่อร่างกาย ช่วยรักษาสมดุลของน้ำ และเกลือแร่ การทำงานร่วมกันของโซเดียม และคลอไรด์ช่วยในการส่งสัญญาณประสาท การหดตัวของกล้ามเนื้อ และการรักษาความดันออสโมติก
ฟอสฟอรัส (Phosphorus) เป็นแร่ธาตุสำคัญ มีบทบาทหลักในการเสริมสร้างกระดูกและฟัน ทำงานร่วมกับแคลเซียมเพื่อรักษาความแข็งแรงของโครงสร้างกระดูก
คลอรีน (Chlorine) ในรูปของไอออนคลอไรด์ เป็นสารอาหารสำคัญที่ช่วยรักษาสมดุลของน้ำ และเกลือแร่ในร่างกาย มีบทบาทในการผลิตกรดไฮโดรคลอริกสำหรับย่อยอาหาร และช่วยในการส่งสัญญาณประสาท
ทองแดง (Copper) เป็นแร่ธาตุสำคัญที่ร่างกายต้องการเพื่อช่วยในกระบวนการเผาผลาญพลังงาน การสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง การสร้างคอลลาเจน และการดูดซึมธาตุเหล็ก
ค่า TDS ในน้ำดื่ม คือปริมาณสารที่ละลายในน้ำ เช่น เกลือแร่และสารประกอบต่างๆ ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม น้ำที่มีค่า TDS ในระดับที่เหมาะสม (50-500 ppm) จะช่วยให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่จำเป็น
โซเดียมไบคาร์บอเนต หรือเบกกิ้งโซดา เป็นสารประกอบที่มีบทบาทสำคัญในร่างกาย ช่วยปรับสมดุลกรด-ด่าง รักษาระดับ pH ให้เหมาะสม และช่วยลดกรดแลคติกที่เกิดจากการออกกำลังกาย
แคลเซียม แร่ธาตุสำคัญต่อร่างกาย ช่วยเสริมสร้างความหนาแน่นของกระดูกและฟัน ควบคุมการทำงานของอวัยะส่วนอื่นๆ การทำงานของระบบประสาท การเต้นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด การหดตัวของกล้ามเนื้อ และช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์หลายชนิด
ธาตุเหล็ก คือหัวใจหลักสำคัญในการผลิตเฮโมโกลบิน มีส่วนช่วยเสริมสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงให้ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ หากร่างกายมนุษย์ขาดธาตุเหล็ก จะทำให้เกิดภาวะโรคโลหิตจาง เราควรได้รับธาตุเหล็กในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน
แร่ธาตุ สารประกอบอนินทรีย์ที่มีบทบาทสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ทำหน้าที่ส่งเสริมการทำงานของอวัยวะต่างๆ ซึ่งสามารถยับยั้งการเกิดโรคบางชนิดได้ ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย ช่วยในกระบวนการเจริญเติบโต และควบคุมการทำงานของอวัยวะในร่างกายให้ทำงานได้อย่างสมบูรณ์
เรื่องแนะนำ